วันศุกร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

การประยุกต์ใช้ internet of thing ใน Wareable

ในยุคที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของทุกคน ถ้าลองสารวจอุปกรณ์ที่อยู่รอบตัวเราจะพบว่าอุปกรณ์อัจฉริยะเหล่านี้สามารถเชื่อมต่อเข้าหากันได้ผ่านเทคโนโลยีเครือข่าย ประเด็นสาคัญคืออุปกรณ์เหล่านี้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้เอง โดยผู้ใช้งานไม่จาเป็นต้องเข้าไปสั่งงานอุปกรณ์เหล่านั้นด้วยตนเอง แต่ผู้ใช้งานเพียงควบคุมสั่งงานจากต้นทางและรับข้อมูลแจ้งเตือนจากอุปกรณ์เท่านั้น ซึ่งแนวคิดดังกล่าวนี้มีชื่อเรียกว่า “Internet of Things”

รูปจาก http://kpcbweb2.s3.amazonaws.com
Internet of Things (loT) หรืออินเตอร์เน็ตในทุกสิ่ง หมายถึง การที่สิ่งต่างๆ ถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกันในโลกของอินเทอร์เน็ต ทาให้มนุษย์สามารถสั่งการและควบคุมการใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ เช่น การสั่งเปิด-ปิด อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า โทรศัพท์มือถือ เครื่องใช้สานักงาน เครื่องมือทางการเกษตร เครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม บ้านเรือน รวมไปถึงเครื่องใช้ในชีวิตประจาวันต่างๆ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เทคโนโลยี Internet of Things มีความจำเป็นที่จะต้องทำงานร่วมกับอุปกรณ์ประเภท RFID (Radio frequency identification) และ Sensors ซึ่งเปรียบเสมือนการเติมสมองให้กับอุปกรณ์ต่างๆ พร้อมทั้งต้องมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเพื่อให้อุปกรณ์เหล่านี้สามารถรับส่งข้อมูลได้ อย่างไรก็ตามแม้ Internet of Things จะเป็นเทคโนโลยีที่มีประโยชน์ในหลายด้านแต่ก็มาพร้อมกับความเสี่ยง เพราะหากระบบรักษาความปลอดภัยของอุปกรณ์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่ดีพอ ก็อาจทาให้มีผู้ไม่ประสงค์ดีเข้ามาทาสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ ต่ออุปกรณ์ข้อมูลสารสนเทศหรือความเป็นส่วนตัวของบุคคลได้ ดังนั้น การพัฒนาไปสู่ Internet of Things จึงมีความจาเป็นต้องพัฒนามาตรการและเทคนิคในการรักษาความปลอดภัยไอทีควบคู่กันไปด้วย

รูปจาก datasciencebe.com
ทางด้านเว็บไซต์ IoT Analytics ได้ทาการสารวจและจัดอันดับ โดยรวบรวมข้อมูลจากแหล่งที่มีผู้ใช้งาน บนอินเตอร์เน็ตยอดนิยมหลักๆ 3 แหล่งด้วยกัน ได้แก่ 1) สถิติการค้นหาใน Google 2) การแชร์บน Twitter และ 3) จากการที่มีคนพูดถึงบน Linkedin มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

รูปจาก iot-analytics.com/iot-applications-q2-2015

อันดับที่ 1 Wearables คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถติดตั้งใช้งานบนส่วนต่างๆ ของร่างกาย เพื่อความสะดวกในการใช้งานเพราะสามารถนาติดตัวไปได้ทุกที่ Wearable Computer สามารถทางานได้ทั้งในแบบ Stand alone หรือทางานร่วมกับอุปกรณ์อื่นอย่าง Smartphone ผ่านทางแอพพลิเคชั่น อาทิ เซ็นเซอร์วัดระยะทางของการวิ่ง วัดอัตราการเต้นของหัวใจ วัดอุณหภูมิรอบๆ การบอกพิกัดตาแหน่งบนโลก อุปกรณ์ที่วัดการตรวจจับพฤติกรรมของผู้สวมใส่แล้วแปลงค่าออกมา เช่น พฤติกรรมการนอนหลับ พฤติกรรม การออกกาลังกาย รวมถึงการเก็บข้อมูลของผู้ใช้ เพื่อแปลงผลไปใช้ในการทาข้อมูลสถิติ และการเข้าใจในพฤติกรรมด้านต่างๆ เป็นต้น ส่วนการทางานเพื่อใช้ในการควบคุมและทางานร่วมกับอุปกรณ์อย่าง Smartphone เช่น การสั่งให้เล่นเพลงจาก Smartphone การแสดงสถานะของการโทรเข้าโทรออก การแจ้งเตือนเมื่อมีข้อความ อีเมล์ Facebook Twitter เข้ามา
รูปจาก thumbsup.in.th/2013/07/wearable-device-trend
Wearable Computer ปัจจุบันมีการพัฒนาออกมาเป็นรูปแบบของ Gadget ต่างๆ มากมาย ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
1. Watch – Wearable Computer แบบประเภทนาฬิกา
2. Wrist band – Wearable Computer แบบประเภทสายรัดข้อมือ
3. Glass – Wearable Computer แบบประเภทแว่นตา

ตัวอย่าง Smart Watch ในปัจจุบัน
LG Watch Urbane 



รายละเอียด http://www.lg.com/us/smartwatch/urbane
กระทู้รีวิว 
http://pantip.com/topic/33935723


Nike Watch

รายละเอียด https://secure-nikeplus.nike.com/plus/products/sport_watch/

Samsung Gear 2


Apple Watch

รายละเอียด http://www.apple.com/watch/
ที่มาเนื้อหา http://www.bangkokgis.com/bangkokgis_2008/system_file/-t1439539799.pdf